การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยว่าเราจะต้องเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
ซึ่งมีหัวข้อดังนี้ 1. เราต้องเรียนเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์
2. เรียนเกี่ยวกับภาษา 3. เรียนเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
แล้วก็แยกออกเป็นหัวข้อย่อยทำเป็น (Mind Mapping) ให้พวกเราดูเพื่อเราได้เข้าใจง่ายมากขึ้น
และอาจารย์ก็ยังให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น
เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอนและรู้จักคิด
พัฒนาการ หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงที่แน่นอนตามลำดับขั้น (วัย) ของบุคคล ตั้งแต่เกิดจนตาย
การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้บุคคลมีพฤติกรรมที่เป็นระบบระเบียบมากขึ้น
สลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ปรับตัวได้มากยิ่งขึ้น
และมีประสิทธิภาพมากขึ้น พัฒนาการของมนุษย์ประกอบด้วยด้านต่าง
ๆ ดังนี้
1. ด้านร่างกาย หมายถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย
2. ด้านบุคลิกภาพ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคน ได้แก่การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และจิตใจ
3. ด้านความสัมพันธ์ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น
4. ด้านความคิด หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ความรู้ ความเข้าใจและความคิดต่าง ๆ 1. ด้านร่างกาย หมายถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย 2. ด้านบุคลิกภาพ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคน ได้แก่การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และจิตใจ 3. ด้านความสัมพันธ์ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น 4. ด้านความคิด หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ความรู้ ความเข้าใจและความคิดต่าง ๆ
1. ด้านร่างกาย หมายถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย
2. ด้านบุคลิกภาพ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคน ได้แก่การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และจิตใจ
3. ด้านความสัมพันธ์ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น
4. ด้านความคิด หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ความรู้ ความเข้าใจและความคิดต่าง ๆ 1. ด้านร่างกาย หมายถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย 2. ด้านบุคลิกภาพ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคน ได้แก่การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และจิตใจ 3. ด้านความสัมพันธ์ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น 4. ด้านความคิด หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ความรู้ ความเข้าใจและความคิดต่าง ๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น